1. พระบูชาเชียงแสน สิงห์ 1 หน้าตัก 9 นิ้ว กรุป่ายาง)
หมวกหม้อตาลตราสิงห์โลหะ: ปรับได้เพื่อความกระชับพอดีจะไม่พัดเมื่อมีลมแรง พระพุทธรูป 5
นิ้ว: สร้อยคอลูกปัดและตะขอก้ามปูกุ้งก้ามกราม พระพุทธรูป
5 นิ้ว: สามารถควบคุมได้ทั้งหมดและปิดเครื่อง พระพุทธรูป
9 นิ้ว: สามารถควบคุมได้ทั้งหมดและปิดเครื่อง
สิงห์หลวงพ่อเดิม: ฟังก์ชั่นการกําจัดและกําจัดกลิ่นได้ง่าย พระเชียงแสนสิงห์ ๑ กรุวัดป่ายาง อําเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย นี้ถูกขุดพบหลังเทศบาลตําบลแม่สายประมาณ ๓๐๐ เมตร ห่างวัดป่ายางประมาณ ๑๐๐ เมตร เข้าใจว่าจุดที่ขุดพบเคยเป็นอาณาเขตของวัดมาก่อน จํานวนที่พบมากกว่าสองหมื่นองค์ มีขนาดบูชาหน้าตัก ๓ นิ้วครึ่ง และขนาดห้อยคอหน้าตักประมาณ ๗ หุน เดิมระบุผิดเป็น ๓ หุนครึ่ง มีผู้ให้ข้อมูลว่า กรุแตกในช่วงเดือน กรกฎาคม ถึง กันยายน ๒๕๕๗องค์พระที่นําภาพมาลงเป็นขนาดหน้าตัก ๗ หุน เลี่ยมขึ้นคอได้ สภาพโดยทั่วไป ปรากฏคราบดินและสนิมเขียวปกคลุมที่ด้านนอกทั้งองค์ ดินมีลักษณะแห้ง แข็ง เกาะติดแน่น สนิมเขียวบางแห่งอยู่ปะปนกับดินหรือขึ้นปกคลุมดินอีกทีหนึ่ง บางแห่งส่องเห็นเป็นเม็ดแมงลัก ไข่แมงดา บางแห่งมีลักษณะเงาสดคล้ายสีหรือวัสดุเหลวสีเขียวเคลือบไว้ แต่ใช้ทินเนอร์ล้างไม่ออก แสดงว่าไม่ใช่สี เมื่อนํามาล้างแล้วจะพบว่าเนื้อพระมีสีทอง ลึกกว่าสีทองเป็นสีทองแดง น่าจะเป็นการเล่นแร่แปรธาตุของอาจารย์ผู้เรืองวิชาในสมัยโบราณ ผิวพระเป็นเส้น ๆ เหมือนลายผ้า พุทธลักษณะเป็นพระพุทธรูปเชียงแสนสิงห์ ๑ พระพักตร์และพระอุระนูนหนา สังฆาฏิสั้น ขัดสมาธิเพชร ปางมารวิชัย ชั้นของผิวที่ปกคลุม ชั้นแรกเห็นได้ชัดว่าเป็นสนิมเขียว ซึ่งแสดงให้เห็นว่าสนิมเขียวที่ปกคลุมด้านนอกที่เห็นในองค์ก่อนที่จะทําการล้างนั้น เป็นสนิมเขียวที่ถูกดันออกมาจากด้านใน ผ่านชั้นของรักและชั้นดินที่ปกคลุมองค์พระอีกทีหนึ่ง บ่งว่าองค์พระถูกบ่มอยู่ในชั้นดินผ่านกาลเวลาอันยาวนาน และสนิมเขียวยังบ่งว่าเนื้อพระน่าจะเป็นสําริดหรือมีส่วนผสมของทองแดงเป็นสําคัญ ชั้นต่อมา คือ รักสมุก สีดํา ดินสีทราย และดินสีอิฐ ตามลําดับ การที่ดินแบ่งออกเป็นสีทรายและสีอิฐอยู่คนละชั้นต่างกันไม่น่าจะเพราะเป็นดินคนละชนิด แต่น่าจะเกิดจากธรรมชาติ ความร้อน ความชื้น และระยะเวลาอันยาวนาน ที่ขับดันวัสดุต่างประเภทให้ออกมาอยู่ในลําดับชั้นที่ต่างกัน เช่นเดียวกับที่สนิมเขียวส่วนหนึ่งถูกดันให้ออกมาปกคลุมด้านนอกสุดขององค์พระจากบทวิเคราะห์พอสรุปได้ในเบื้องต้นว่า พระกรุวัดป่ายาง อําเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ซึ่งแม้ไม่ได้ถูกขุดพบภายในบริเวณวัดในปัจจุบัน แต่ก็อยู่ในบริเวณใกล้วัดป่ายางมากที่สุด คงพออนุโลมให้เป็นกรุวัดป่ายางไปก่อน เป็นพระพุทธรูปเชียงแสนสิงห์ ๑ แท้ซึ่งมีอายุยาวนาน ในเบื้องต้นคงเพียงคาดการณ์ไว้ก่อนว่าไม่น่าจะน้อยกว่า ๒๐๐ ปี สิ่งที่จะต้องศึกษาค้นคว้าต่อไปคือ พระกรุนี้มีอายุเท่าใด สร้างสมัยใด และที่สําคัญ มีพลังพุทธคุณในด้านใดและมากน้อยเพียงใด หากทราบข้อมูลเพิ่มเติมจะนํามาลงไว้เพื่อประโยชน์แก่ชาวสยามต่อไป พระเชียงแสนสิงห์ ๑ กรุวัดป่ายาง อําเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย นี้ถูกขุดพบหลังเทศบาลตําบลแม่สายประมาณ ๓๐๐ เมตร ห่างวัดป่ายางประมาณ ๑๐๐ เมตร เข้าใจว่าจุดที่ขุดพบเคยเป็นอาณาเขตของวัดมาก่อน จํานวนที่พบมากกว่าสองหมื่นองค์ มีขนาดบูชาหน้าตัก ๓ นิ้วครึ่ง และขนาดห้อยคอหน้าตักประมาณ ๗ หุน เดิมระบุผิดเป็น ๓ หุนครึ่ง มีผู้ให้ข้อมูลว่า กรุแตกในช่วงเดือน กรกฎาคม ถึง กันยายน ๒๕๕๗องค์พระที่นําภาพมาลงเป็นขนาดหน้าตัก ๗ หุน เลี่ยมขึ้นคอได้ สภาพโดยทั่วไป ปรากฏคราบดินและสนิมเขียวปกคลุมที่ด้านนอกทั้งองค์ ดินมีลักษณะแห้ง แข็ง เกาะติดแน่น สนิมเขียวบางแห่งอยู่ปะปนกับดินหรือขึ้นปกคลุมดินอีกทีหนึ่ง บางแห่งส่องเห็นเป็นเม็ดแมงลัก ไข่แมงดา บางแห่งมีลักษณะเงาสดคล้ายสีหรือวัสดุเหลวสีเขียวเคลือบไว้ แต่ใช้ทินเนอร์ล้างไม่ออก แสดงว่าไม่ใช่สี เมื่อนํามาล้างแล้วจะพบว่าเนื้อพระมีสีทอง ลึกกว่าสีทองเป็นสีทองแดง น่าจะเป็นการเล่นแร่แปรธาตุของอาจารย์ผู้เรืองวิชาในสมัยโบราณ ผิวพระเป็นเส้น ๆ เหมือนลายผ้า พุทธลักษณะเป็นพระพุทธรูปเชียงแสนสิงห์ ๑ พระพักตร์และพระอุระนูนหนา สังฆาฏิสั้น ขัดสมาธิเพชร ปางมารวิชัย ชั้นของผิวที่ปกคลุม ชั้นแรกเห็นได้ชัดว่าเป็นสนิมเขียว ซึ่งแสดงให้เห็นว่าสนิมเขียวที่ปกคลุมด้านนอกที่เห็นในองค์ก่อนที่จะทําการล้างนั้น เป็นสนิมเขียวที่ถูกดันออกมาจากด้านใน ผ่านชั้นของรักและชั้นดินที่ปกคลุมองค์พระอีกทีหนึ่ง บ่งว่าองค์พระถูกบ่มอยู่ในชั้นดินผ่านกาลเวลาอันยาวนาน และสนิมเขียวยังบ่งว่าเนื้อพระน่าจะเป็นสําริดหรือมีส่วนผสมของทองแดงเป็นสําคัญ ชั้นต่อมา คือ รักสมุก สีดํา ดินสีทราย และดินสีอิฐ ตามลําดับ การที่ดินแบ่งออกเป็นสีทรายและสีอิฐอยู่คนละชั้นต่างกันไม่น่าจะเพราะเป็นดินคนละชนิด แต่น่าจะเกิดจากธรรมชาติ ความร้อน ความชื้น และระยะเวลาอันยาวนาน ที่ขับดันวัสดุต่างประเภทให้ออกมาอยู่ในลําดับชั้นที่ต่างกัน เช่นเดียวกับที่สนิมเขียวส่วนหนึ่งถูกดันให้ออกมาปกคลุมด้านนอกสุดขององค์พระจากบทวิเคราะห์พอสรุปได้ในเบื้องต้นว่า พระกรุวัดป่ายาง อําเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ซึ่งแม้ไม่ได้ถูกขุดพบภายในบริเวณวัดในปัจจุบัน แต่ก็อยู่ในบริเวณใกล้วัดป่ายางมากที่สุด คงพออนุโลมให้เป็นกรุวัดป่ายางไปก่อน เป็นพระพุทธรูปเชียงแสนสิงห์ ๑ แท้ซึ่งมีอายุยาวนาน ในเบื้องต้นคงเพียงคาดการณ์ไว้ก่อนว่าไม่น่าจะน้อยกว่า ๒๐๐ ปี สิ่งที่จะต้องศึกษาค้นคว้าต่อไปคือ พระกรุนี้มีอายุเท่าใด สร้างสมัยใด และที่สําคัญ มีพลังพุทธคุณในด้านใดและมากน้อยเพียงใด หากทราบข้อมูลเพิ่มเติมจะนํามาลงไว้เพื่อประโยชน์แก่ชาวสยามต่อไป